ชื่ออื่น |
ละมุด (ทั่วไป)
|
|
|
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ |
การใช้ประโยชน์ |
ต้น |
เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง เป็นพุ่มทึบ กิ่งก้าน แตกออกรอบลำต้นเป็นชั้น
ๆ |
|
ใช้เป็นอาหาร |
ผลสุก รับประทานเป็นผลไม้
ทำไวน์ และทำน้ำละมุด |
ใบ |
เป็นใบเดี่ยว
ท้องใบมีสีน้ำตาลอมเขียว มักออกเป็นกระจุก ตามปลายกิ่ง |
|
คุณค่าทาง
โภชนาการ |
ผลละมุดสุก มีน้ำตาลสูง
มีวิตามินเอและซี มีธาตุแคลเซียม ฟอสฟอรัส และอื่น ๆ ละมุดดิบ
มียางสีขาวเหมือนน้ำนม มีสารที่ชื่อว่า "gutto" มีชัน สารฝาดสมานและอื่น
ๆ |
ดอก |
ออกดอกเดี่ยว
ตามง่ามกิ่ง กลีบรองดอกเรียงกัน เป็น 2 ชั้น กลีบดอกเชื่อมกันและยกตั้งขึ้น
มี 6 กลีบ มีสีเหลืองนวล |
|
ใช้เป็นยา |
ในฟิลิปปินส์ใช้ เปลือกของต้น ต้มดื่มแก้บิด ยาง ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิอย่า
แรง เมล็ดเป็นยาบำรุง |
ผล |
เป็นรูปไข่ หรือรูปปลายข้างหนึ่งแหลมเล็กน้อย
ผิวผลมีสีน้ำตาล ผลยังไม่สุกมียางสีขาว รสฝาด แข็ง เมื่อสุกจะนิ่ม
หวาน ไม่มียาง มีเมล็ดรูปยาว รี ผิวสีดำฝังอยู่ในเนื้อ ผลละ
2-6 เมล็ด |
น้ำละมุดฝรั่ง |
ส่วนผสม
ละมุด 3 ลูก
น้ำเชื่อม 1/4 ถ้วย
นมสด 1/4 ถ้วย
เกลือป่น 1/4 ช้อนชา
น้ำแข็งบด
วิธีทำ
1.ล้างละมุดให้สะอาด ปอกเปลือกออก ฝานไส้และเมล็ดออก
2.ใส่เนื้อละมุด น้ำเชื่อม นมสด เกลือป่นน้ำแข็งลงในโถปั่น
ปั่นให้ละเอียด เทใส่แก้วทรงสูง เสิร์ฟพร้อมหลอดดูด และไม้คน |
|
|
|
|