ชื่ออื่น |
แตงลาย มะแตงสุก(เหนือ)
แตงจิง แตงกิง (อิสาน) ซกเซรา (เขมร) ดี (กะเหรี่ยง) |
|
|
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ |
การใช้ประโยชน์ |
ต้น |
เป็นไม้เถา ลำต้นลายเป็นสันร่องตามยาว
มีมือ ไม้แตกแขนง มีขนปกคลุมตลอดทั้งต้น |
|
ใช้เป็นอาหาร |
ผลอ่อน รับประทานสดเป็นผักจิ้มน้ำ
พริก ผลสุก ทำเป็นแตงไทยน้ำกะทิ |
ใบ |
ใบเดี่ยวทรงเหลี่ยม แฉกเว้าเล็กน้อย ขอบใบ หยักเป็นฟัน |
|
คุณค่าทาง โภชนาการ |
เนื้อผลแก่ มีวิตามินเอสูงมาก
วิตามินซี มีธาตุฟอสฟอรัส และแคลเซียม คาร์โบ ไฮเดรต น้ำตาล
และอื่น ๆ |
ดอก |
ดอกเดี่ยว สีเหลือง
|
|
ใช้เป็นยา |
ใบ รสจืดเย็น
แก้ไข้ ดอก รสขมฝาดเย็น ดอกอ่อนตากแห้ง ต้มกินทำให้อาเจียน แก้ดีซ่าน
บดเป็นผง พ่นแก้แผลในจมูก ผลรสหวานเย็นหอม ขับปัสสาวะ บำรุง
ธาตุ ขับน้ำนม ขับเหงื่อ บำรุงหัวใจ สมอง และแก้อักเสบ ในทางเดินปัสสา
วะ เมล็ดรสมันจืดเย็น ขับปัสสาวะ ช่วย ย่อย และแก้ไอ ราก รสเย็นเฝื่อน
ต้มกิน ทำให้อาเจียนระบายท้อง |
ผล |
ผลกลมหรือรียาว ขนาดพอ ๆ กับฟัก แต่ป้อม น้อยกว่ามาก ผิวมันไม่เรียบ
มักเป็นร่องคล้าย ร่างแห สีเขียวอมดำ ลายสีอ่อน เนื้อในผลสี
เหลืองอ่อน มีกลิ่นหอม |
|
น้ำแตงไทย |
ส่วนผสม
แตงไทยสุกหั่นชิ้นเล็ก ๆ 1 ถ้วย
น้ำเชื่อม 1/4 ถ้วย
น้ำต้มสุก 1 1/2 ถ้วย
น้ำแข็ง 1 1/2 ถ้วย
เกลือ 1/4 ถ้วย
วิธีทำ
แตงไทยสุก ปอกเปลือกหั่นเอาแต่เนื้อ ใส่ ลงในโถปั่น เติมน้ำต้มสุก
น้ำเชื่อม เกลือ เล็กน้อย ปั่นให้เข้ากัน เทใส่แก้วเสิร์ฟ
หรือจะใส่น้ำแข็งลงในโถปั่น ปั่นเข้า ด้วยกัน จะได้น้ำแตงไทย
สีเหลืองนวล หรือสีส้ม เนื่องจตากมีเนื้อแตงปนด้วย |